เป้าหมายรายสัปดาห์
: นักเรียนเข้าใจและสามรถอธิบายเกี่ยวกับการดูแลรักษาและการอนุรักษ์สัตว์ป่าได้
Week
|
Input
|
Process (PBL)
|
Output
|
Outcome
|
5
9 - 13 พ.ค. 2557 |
โจทย์
:
การดูแลรักษาป่าไม้และสัตว์ป่า
Key
Question :
- การดูแลรักษาป่าไม้มีกี่วิธี
ทำอย่างไร?
- ใครควรเป็นผู้เริ่มการอนุรักษ์สัตว์ป่า
เครื่องมือคิด
Brainstorm:
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาป่าไม้
wall Tinking :
ปฏิทินการเรียนรู้
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ในรูปแบบ ต่างๆ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- หนังสือเรื่อง
- อินเตอร์เน็ต
|
ชง
:
- นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “การดูแลรักษาป่าไม้มีกี่วิธี ทำอย่างไร ? ”
- สัตว์ป่าที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง
?
เชื่อม
:
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากกิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนฟังเรื่องเล่าจากครู
เกี่ยวกับลักษณะของสัตว์ป่า
ใช้
:
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบแผนงานในรูปแบบต่างๆ
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจในรายสัปดาห์
|
ชิ้นงาน/ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากสิ่งที่ได้ฟังและดู
- การตอบคำถาม
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- นำเสนอในรูปแบบต่างๆ
|
ความรู้
- เข้าใจถึงวิธีการดุแลรักษาและอนุรักษ์สัตว์ป่า
- บุคคลในชุมชนเข้าใจถึงความสำคัญของสัตว์ป่าเพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์
ทักษะ
- การเลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูล
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขมีการวางแผนเป็นขั้นตอน
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
คุณลักษณะ
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนมี
- เห็นคุณค่าและตระหนักถึงความสำคัญของสัตว์ป่า
- ตระหนักถึงปัญหาของสิ่งแวดล้อม
- เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์สัตว์ป่า
- ความคิดเห็นที่สร้างสรรค์และแปลกใหม่
- มีความรับผิดชอบต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น